Social Engagement

ประเด็นงานวิจัยที่โดดเด่น

  • ภูมิปัญญาล้านนา (Lanna Wisdom)
  • มรดกทางวัฒนธรรม (cultural heritage)
  • ศิลปะสถาปัตยกรรมล้านนา (Lanna Art and Architecture)
  • ภัยพิบัติในพื้นที่เมือง (Urban disaster risk reduction)
  • ภูมิทัศน์เมืองเก่า (Visual perception in heritage city)
  • สถาปัตยกรรมผังเมือง (Urban Design)
  • พัฒนาระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับกลุ่มด้อยโอกาส (The Social Safety Net Development for Underprivileged group)
  • ป่าชุมชน (Community Forest)
  • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)
  • เศรษฐกิจฐานราก (grassroot economy)
  • ชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง (ethnic groups)
  • เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อผู้สูงอายุ (Digital technology for the elderly)
  • เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อป้องกันและแก้ปัญหาภัยพิบัติ (Digital technology to prevent and solve disaster problems)
  • เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยว (Digital technology for tourism)
  • เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านล้านนาคดี (Digital technology for innovation development in Lanna study)


หัวข้อวิจัย

  • พิธีกรรมเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพจิตของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ ไทยวน ไทใหญ่: การดำรงอยู่ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกาภิวัตน์
  • การปรับตัวในมิติความเชื่อและพิธีกรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะในประเทศไทย และลาว
  • พุทธสัญลักษณ์ล้านนา
  • การจัดการต้นไม้ในพื้นที่เมืองอัจฉริยะ โดยอาศัยฐานข้อมูลและแนวทางด้านมูลค่า-คุณค่าเพื่อเมืองเชียงใหม่น่าอยู่อย่างยั่งยืน
  • การประเมินทิวทัศน์ริมแม่น้ำเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเมืองเชียงใหม่อย่างยั่งยืน
  • Historic City Tolerance: the evacuation simulation index considering simultaneous street obstructions.
  • The conservation of historic town and disaster risk reduction: lessons learned from the Japanese ‘Denkenchiku' system to improve disaster preparedness by local communities in Thailand
  • The ‘Shakkei’ approach to preserve visual integrity of Chiang Mai’s cultural landscape.
  • “การเสริมสร้างและฟื้นพลังเครือข่ายป่าชุมชนเพื่อรักษาพื้นที่ป่าต้นน้ำจังหวัดน่าน”
  • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ป่าชุมชน
  • “การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพทางเลือกบนฐานทรัพยากรในชุมชนบ้านปางมะกล้วย ตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่”
  • ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนเพื่อการพึ่งพาตนเองบนฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
  • การพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality : VR) เพื่อเพิ่มทักษะความรู้ของบุคลากรทางการแพทย์ ด้านการดูแลผู้สูงอายุ (ZYMERTRAIN)
  • "VR Care Giver Training" ระบบฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงแบบเสมือนจริง
  • การพัฒนาระบบฝึกทักษะการดับไฟป่าสำหรับอาสาสมัครดับไฟป่าโดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงและเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
  • แม่เหาะ 360 องศา แพลตฟอร์มการท่องเที่ยวชุมชนแม่เหาะเสมือนจริง
  • "E-San Live Streaming " แพลตฟอร์มถ่ายทอดสด การท่องเที่ยวชุมชนเสมือนจริง



Hero image

Hero image
  นักวิจัยในสังกัด  
Top